Appendix E.) Paper Template

Chapters

คำสั่ง (โปรดทำตามอย่างเคร่งครัด)

1. การจัดหน้าขอให้ท่านทำการจัดรูปแบบบทความเป็น 2 คอลัมน์ พร้อมทั้งจัดวางคำให้ถูกต้อง ความยาวทั้งหมดห้ามเกิน 10 หน้า

2. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรีอ้างอิงการจัดหน้าจาก http://research.dru.ac.th/e-journal/document/2016_06_30_140251.pdf

3. นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีอ้างอิงการจัดหน้าจาก http://www.kmutt.ac.th/rippc/format.htm

4. คำสั่งที่อยู่ในเครื่องหมาย <> ให้แทนที่ด้วยคำพูดของแต่ละกลุ่ม หรือในบางส่วนให้ลบออกได้เลยหากไม่เกี่ยวข้องกับงานของเรา

5. Upload เอกสาร .doc และ .pdf ไปยัง Cloud

6. เมื่อจัดหน้าเสร็จจะได้ Paper มีลักษณะแบบตัวอย่างจาก http://www.kmutt.ac.th/rippc/v39n3.htm

 

Paper Template.

 

                                                การพัฒนาเกม <ชื่อเกม> ด้วยอาษาเฟรมเวิร์ค

  ชื่อ-นามสกุลผู้พัฒนา *1, ชื่อ-นามสกุลผู้พัฒนา *2, ชื่อ-นามสกุลผู้พัฒนา *3, ชื่อ-นามสกุลผู้พัฒนา *4, ชื่อ-นามสกุลผู้พัฒนา *5

 

บทคัดย่อ

  งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อพัฒนาเกม<ชื่อเกม>ด้วยอาษาเฟรมเวิร์คบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 2.) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เล่นเกม<ชื่อเกม> 

พบว่าเกม<ชื่อเกม>ที่พัฒนาด้วยอาษาเฟรมเวิร์คสามารถทำงานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงได้มีการเผยแพร่เกมไปบน Google PlayStore

และได้มีการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อเกมนี้คือนักศึกษาชั้นปีที่ <?> จำนวน <?> คนจากสาขา<?> คณะ<?> มหาวิทยาลัย<?> 

พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อเกม<ชื่อเกม> มีค่าเฉลี่ย <4.02> และส่วนเบี่ยงเบนมาตฐานเท่ากับ <0.58> แสดงว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับ<มาก>

 

คำสำคัญ: <ชื่อเกม>, อาษาเฟรมเวิร์ค, แอนดรอยด์

 

*1 นักศึกษาปริญญาตรี รหัสนักศึกษา<?>   <ชื่อคณะ> มหาวิทยาลัย<?>

*2 นักศึกษาปริญญาตรี รหัสนักศึกษา<?>  <ชื่อคณะ> มหาวิทยาลัย<?>

*3 นักศึกษาปริญญาตรี รหัสนักศึกษา<?>  <ชื่อคณะ> มหาวิทยาลัย<?>

*4 นักศึกษาปริญญาตรี รหัสนักศึกษา<?>  <ชื่อคณะ> มหาวิทยาลัย<?>

*5 นักศึกษาปริญญาตรี รหัสนักศึกษา<?>  <ชื่อคณะ> มหาวิทยาลัย<?>

 

                                            A Development <ชื่อเกมภาษาอังกฤษ> with ARSA Framework.

 <ชื่อ-นามสกุลภาษาอังกฤษ>*1, <ชื่อ-นามสกุลภาษาอังกฤษ>*2, <ชื่อ-นามสกุลภาษาอังกฤษ>*3, <ชื่อ-นามสกุลภาษาอังกฤษ>*4, <ชื่อ-นามสกุลภาษาอังกฤษ>*5 

 

Abstract

The objectives of the research were 1.) To develop <ชื่อเกมภาษาอังกฤษ> with ARSA Framework on Android operating system and 2.) Finding player's satisfaction.

It was found that the game was successed on Android operating system and published on Google PlayStore. A method for finding satisfaction; the authors who created satisfaction survey tool and 

chosen <จำนวนคน> students as samples group from <ชื่อคณะภาษาอังกฤษ>, <ชื่อมหาวิทยาลัยภาษาอังกฤษ>. It was found that player's satisfaction 1.) Mean at <4.02> and 2.) Standard Deviations at <0.58>.

 

Key words:  <GameName>, ARSA Framework, Android

 

*1 Bachelor Degree Student, <รหัสนักศึกษา>, <ชื่อคณะภาษาอังกฤษ>, <ชื่อมหาวิทยาลัยภาษาอังกฤษ>

*2 Bachelor Degree Student, <รหัสนักศึกษา>, <ชื่อคณะภาษาอังกฤษ>, <ชื่อมหาวิทยาลัยภาษาอังกฤษ>

*3 Bachelor Degree Student, <รหัสนักศึกษา>, <ชื่อคณะภาษาอังกฤษ>, <ชื่อมหาวิทยาลัยภาษาอังกฤษ>

*4 Bachelor Degree Student, <รหัสนักศึกษา>, <ชื่อคณะภาษาอังกฤษ>, <ชื่อมหาวิทยาลัยภาษาอังกฤษ>

*5 Bachelor Degree Student, <รหัสนักศึกษา>, <ชื่อคณะภาษาอังกฤษ>, <ชื่อมหาวิทยาลัยภาษาอังกฤษ>

 

1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

โครงการพัฒนาเกม <ชื่อเกม> นี้เป็นการพัฒนาเกมด้วยอาษาเฟรมเวิร์คบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยตัวเกมจะรันแบบ Cross Platform ระหว่างระบบปฏิบัติการวินโดว์และแอนดรอยด์โดยใช้อาษาเฟรมเวิร์คเป็นตัวขับเคลื่อนหลัก

<บรรทัดนี้เติมรายละเอียดเกมของคุณเอง>

<ช่วงจบความเป็นมาและความสำคัญ>

  อีกทั้งผู้ใช้สมาร์ทโฟนมีจำนวนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในแต่ทุกปี ทำให้สมาร์ทโฟนได้รับความนิยมในวงกว้าง จนแทบจะเรียกได้ว่าเป็นสื่อมาตรฐานในทุกกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากมีรูปแบบการเข้าถึงสะดวกและเข้าใจง่าย แต่ก็ยังมีความท้าทายในการใช้ความคิดและจินตนาการในการแก้ไขปัญหา

  ทางผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจากหลักการและเหตุผลข้างต้นจึงเป็นเหตุผลให้ผู้จัดทำเลือกบูรณาการพัฒนาเกม <ชื่อเกม> ด้วยอาษาเฟรมเวิร์คในครั้งนี้

 

2. วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

อาษาเฟรมเวิร์ค [1]

  เครื่องมือช่วยในการพัฒนาเกม 2 มิติและ 3 มิติแบบครอสแพลทฟอร์มและโอเพนซอร์สพัฒนาขึ้นโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อาษา ตั้งจิตสมคิดจากอาษาโปรดักชัน ได้มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างและแจกจ่ายเครื่องมือตัวนี้ให้กับนักพัฒนาเกมไปใช้ฟรี อีกทั้งมีความตั้งใจอย่างยิ่งที่จะให้เครื่องมือตัวนี้เป็นมาตรฐานเฟรมเวิร์คแห่งชาติในด้านพัฒนาเกม

โครงสร้างของอาษาเฟรมเวิร์คแบบ 2 มิติประกอบไปด้วยการทำงานต่างๆมากมายดังนี้

1.) ตัวจัดการหน้าจอ ทำหน้าที่ติดต่อกับ OpenGL ES 2.0 เพื่อเปิดโหมด Graphic ในความละเอียดขนาดต่างๆตามที่นักพัฒนาเกมต้องการ

             2.) ตัวจัดการภาพ 2 มิติ มีหน้าที่โหลดและแสดงภาพไปที่หน้าจอแสดงผล จุดเด่นของ Framework ตัวนี้คือสามารถแสดงผลไฟล์ PSD จากโปรแกรม Photoshop ได้โดยตรงโดยยังคงคุณสมบัติของภาพประเภท PSD ได้อย่างครบถ้วนไม่ว่าจะเป็น Layer, Visible, Opacity และ Layer Name อีกทั้งยังสามารถใส่ Script เพื่อสร้าง Animation, Transformation และ Grouping ได้โดยตรงจากใน Photoshop และสามารถ Preview ได้ทันทีใน ARSA Framework ส่วนภาพทั่วไปก็ยังสามารถแสดงผลภาพ โดยประเภทของภาพที่สามารถนำมาโหลดได้คือ  bmp, jpg, pcx, png และ tga อีกทั้งคงความเป็นธรรมชาติของภาพประเภทต่างๆไว้ได้ในขณะแสดงผล

            3.) ตัวจัดการ Audio/Video มีหน้าที่โหลดและแสดงผลภาพและเสียงในรูปแบบต่างดังนี้ mp3, mp4, ogg, avi, flv, wma, mov, aac, wav, mpeg1, mpeg2, divx และ xvid สามารถเลือกได้ว่าจะให้ Streaming หรือเล่นจาก Memory โดยตรง

            4. ) ตัวจัดการ Assets โหลดไฟล์จาก Zip, TAR, GZ ได้โดยตรงและสามารถเข้ารหัสแบบ AES 128 Bit

และยังมี API อื่นๆอีกมากมายที่คอยอำนวยความสะดวกให้กับนักพัฒนาเกมแบบ 2 มิติและ 3 มิติครบถ้วนตามต้องการ ซึ่ง ARSA Framework นี้เองเป็นตัวสร้างพลังขับเคลื่อนให้กับเกม Zaros X Battle  และ Saros Real Battle

 

3. วิธีดำเนินงาน

3.1 การสร้างตัวละคร ชื่อตัวละคร+ประวัติเช่น <ให้เลือกตัวละครมาอย่างน้อย 3 ตัว รูปจัดให้มีขนาดเหมาะสม ไม่เล็กจนมองไม่เห็นหรือใหญ่เกินไปเพราะต้องจัดหน้าแบบ 2 คอลัมน์>

3.1.1 ตัวละครชื่อ กระต่ายน้อย เป็นกระต่ายที่อยู่ในป่า มีลักษณะน่ารัก หูยาว ลำตัวมีสีชมพู มีตาโต และหางฟู

<รูปอยู่ในแถวเดียวกัน>

รูปที่ 1. รูปต้นแบบกระต่าย                      รูปที่2. รูปกระต่ายที่ลงสีแล้ว

3.2 การสร้างฉากในเกม <ให้เลือกตัวละครมาอย่างน้อย 3 ตัว รูปจัดให้มีขนาดเหมาะสม ไม่เล็กจนมองไม่เห็นหรือใหญ่เกินไปเพราะต้องจัดหน้าแบบ 2 คอลัมน์>

ฉากในมีทั้งหมด <30> ฉาก โดยตัวเกมจะมีการเพิ่มระดับความยากมากขึ้นเมื่อผู้เล่นทำการเล่นเกมไปจนถึงช่วงกลางจนถึงท้ายเกม

<หารูปฉากมาใส่ ใส่ตัวอย่างไม่เกิน 3 ฉาก อธิบายโดยสังเขปในการได้มาแต่ละฉาก ทำอย่างไรตั้งแต่แรกจบเสร็จ>

รูปที่ 3. ภาพฉากที่ <?> ในเกม

3.3 การเขียนโปรแกรมด้วยอาษาเฟรมเวิร์ค

3.3.1 การสร้าง Flowchart ของเกมดังรูปที่ 4. <อธิบายโดยะเอียดด้วยว่า flowchart นี้ทำงานอย่างไร, หากมีเกมย่อยให้ใส่ flowchart ของเกมย่อย และอธิบาย การอธิบายต้องอธิบายเป็น logic มีที่มาที่ไป เช่น ด่านที่ 1 เกมทายตัวเลข เริ่มต้นมาจะส่มตัวเลขเก็ยในตัวแปรชื่อ xxx จากนั่นนำค่าที่ได้ไปสู่ขั้นตอนที่ 2 .... แล้วอธิบายไปจนจบครับ >

<หารูปFlowchartมาใส่>

รูปที่ 4. Flowchart ของเกม

3.3.2 การสร้างตัวแปรที่ใช้ในเกม <เลือกตัวแปรมา 5 ตัวและอธิบายว่ามีหน้าที่ทำอะไรในเกมครับ>

3.3.3 คำสั่งสำคัญที่ใช้ในอาษาอาษาเฟรมเวิร์ค <เลือกฟังก์ชั่นมา 5 ตัวและอธิบายว่ามีหน้าที่ทำอะไรในเกมครับ>

3.4 การสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เล่นเกมใช้แบบสอบถามที่ผ่านการประเมินโดยผู้เชียวชาญดังตารางที่ 1. และเลือกกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่ <?> จำนวน <?> คนจากสาขา<?> คณะ<?> มหาวิทยาลัย<?> 

ตารางที่ 1. แบบประเมินความพึงพอใจ

<นำตารางที่สร้างคำถามใส่ จัดหน้าให้พอดี>

 

4. ผลการทดลอง

4.1 จากวิธีดำเนินงานทั้งหมดได้ถูกบูรณาการและสร้างสรรค์เป็นเกมที่มีชีวิตขึ้นมาโดยได้ผลการทดลองดังนี้

<แสดงหน้าจอหลักของเกม ให้ อธิบายว่าหน้าจอนี้ทำอะไรได้บ้าง ทำไมถึงอยู่หน้านี้ กดไอคอนอะไรแล้วไปหน้าต่อไปมีดังนี้ รูปไม่ต้องใหญ่ จัดหน้าให้อยู่ภายใน 1 แถว>

                                     4.1.1) หน้าจอ Start Game <อธิบายรูป+มี 1 รูป>

รูปที่ 5. Start Game

                                     4.1.2) หน้าจอ Update Game <อธิบายรูปทุกรูป+การเล่นเกม มี 3 รูป>

รูปที่ 6. Update Game 1

รูปที่ 7. Update Game 2 

รูปที่ 8. Update Game 3

                                     4.1.3) หน้าจอ You Win <อธิบายรูป+มี 1 รูป>

รูปที่ 9.  You Win 

                                     4.1.4) หน้าจอ Credit <อธิบายรูป+มี 1 รูป>

รูปที่ 10. Credit

4.1.5) ได้มีการเผยแพร่เกม<ชื่อเกม>ไปบน Google PlayStore  สามารถดาวน์โหลดได้ที่ <Link Google Play + QR Code สำหรับ download เกม>

รูปที่ 11. QR Code

4.2 นำเครื่องมือไปประเมินความพึงพอใจกับกลุ่มตัวอย่างพบว่า 

<ให้ใช้สรุปจากข้อ 2. จากไฟล์ http://sarosworld.com/cmm342/sat_how_to.pdf เขียนลงมาให้ครบทุกข้อและแสดงตารางด้วย ให้อธิบายตารางเป็นคำพูด อย่าขี้เกียจครับ!>

ตารางที่ 2. แสดงความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง

 

5. สรุปและอภิปรายผล

จากการวิจัยพัฒนาเกม <ชื่อเกม> ด้วยอาษาเฟรมเวิร์คในครั้งนี้สรุปได้ว่าสามารถสร้างเกม<ชื่อเกม>ลงบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และมีการเผยแพร่เกมไปบน Google PlayStore 

ซึ่งผลลัพธ์ได้สอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างเกมด้วยอาษาเฟรมเวิร์คของนายอาษา ตั้งจิตสมคิดที่ได้เสนอไว้ และพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อเกม<ชื่อเกม> มีค่าเฉลี่ย <4.02> และส่วนเบี่ยงเบนมาตฐานเท่ากับ <0.58> แสดงว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับ<มาก>

 

6. เอกสารอ้างอิง

[1] Arsa Tangchitsomkit. (2017). ARSA Framework, Retrived March 2, 2017, from http://sarosworld.com/af